วันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2554

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

                                                แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1



กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1           รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ภาคเรียนที่1/2554
หน่วยการเรียนรู้ที่  1 เรื่อง  ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี                                  เวลา   11   ชั่วโมง
เรื่อง   วิทยาศาสตร์คืออะไร                                                                                                    เวลา     3  ชั่วโมง
บันทึกแผนการจัดการเรียนรู้โดย                                    นางสาวศิริรัตน์ จำปาเพ็ง                 ครูอัตราจ้าง
ใช้แผนการจัดการเรียนรู้เมื่อ                                           วันที่ ..10-14...เดือน ....พฤษภาคม.....พ.ศ. ....2554...............            โรงเรียนศรีบุญเรืองวิทยาคาร อ.ศรีบุญเรือง จ.หนองบัวลำภู สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดหนองบัวลำภูเขต1


                            

   สาระสำคัญ

วิทยาศาสตร์ คือ ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติที่สะสมรวบรวมไว้อย่างมีระบบโดยผ่านการค้นคว้าหาความรู้อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอนทดสอบและเป็นวิชาที่ค้นหาความจริงเกี่ยวกับวัตถุ เหตุการณ์และปรากฏการณ์ธรรมชาติ  โดยอาศัยวิธีการ  ทักษะกระบวนการและเจตคติทางวิทยาศาสตร์  

วิทยาศาสตร์แบ่งเป็น 2  ประเภท คือ

1.             วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์

2.             วิทยาศาสตร์ประยุกต์

ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์



  ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

              สังเกต  สำรวจตรวจสอบ อธิบายและวิเคราะห์ความหมายของวิทยาศาสตร์  วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์  ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์



 จุดประสงค์ปลายทาง

             สรุปเกี่ยวกับ ความหมายของวิทยาศาสตร์  วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์ได้



    จุดประสงค์นำทาง

        1. บอกความหมายของวิทยาศาสตร์ได้

        2. บอกและอธิบายวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ได้

        3. บอกและอธิบายลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์ได้

 เนื้อหาสาระ

                  วิทยาศาสตร์ มาจากคำภาษาอังกฤษ "Science" อันมีรากศัพท์มาจากคำว่า "Scientia" ซึ่งเป็น

              ภาษาลาติน หมายถึง ความรู้ทั่วๆ ไป

                      วิทยาศาสตร์ คือ ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติที่สะสมรวบรวมไว้อย่างมีระบบโดยผ่าน  การค้นคว้าหาความรู้อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอนทดสอบและเป็นวิชาที่ค้นหาความจริงเกี่ยวกับวัตถุ  เหตุการณ์และปรากฏการณ์ธรรมชาติ  โดยอาศัยวิธีการ  ทักษะกระบวนการและเจตคติทางวิทยาศาสตร์  เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป

                    วิทยาศาสตร์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

1.              วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ เป็นความรู้ทางวิทยาสาสตร์ขั้นพื้นฐานที่ได้จากการค้นพบในธรรมชาติ     

              ได้แก่ ข้อเท็จจริง หลักการ ทฤษฏี ได้แก่วิชาต่างๆ เช่น ชีววิทยา ฟิสิกส์ เคมี เป็นต้น

ตัวอย่างนักวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ที่มีชื่อเสียง

-                   อาร์คีเมเดส ผู้ค้นพบวิธีการหาปริมาตรของวัตถุโดยการแทนที่น้ำ

-                   เซอร์ ไอแซก นิวตัน ผู้ก่อตั้งกฎของความโน้มถ่วง การเคลื่อนที่ของวัตถุ การหักเหของแสง

-                   ชาลส์ ดาร์วิน  ผู้ก่อตั้งทฤษฎีวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

-                   อัลเบริ์ต  ไอน์สไตน์  ผู้ค้นพบทฤษฎีสัมพันธภาพของไอน์สไตน์

 2.    วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เป็นการนำความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ เพื่อให้เกิดประโยชน์และอำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิตของมนุษย์ เรียกนักวิทยาศาสตร์ด้านนี้ว่านักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ประกอบด้วย วิศวกร แพทย์ เภสัชกร เกษตรกร เป็นต้น

ตัวอย่างนักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่มีชื่อเสียง

-                   ทอมัส  แอบวา เอดิสัน  ผู้ประดิษฐ์หลอดไฟ

-                   ไมเคิล  ฟาราเดย์  ผู้ประดิษฐ์เครื่องกำเนิดไฟฟ้า

-                   กาลิเลโอ  กาลิเลอิ ผู้ประดิษฐืกล้องโทรทรรศน์แบบหักเห

-                   หลุยส์  ปาสเตอร์  ผู้ค้นพบเซรุ่มสำหรับฉีดแก้พิษงูและพิษสุนัขบ้า

-                   วิลเบอร์ และออร์วิล ไรต์  ผู้สร้างเครื่องร่อนพร้อมปรับปรุงพัฒนาเป็นเครื่องบิน

ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์

1.             ช่างสังเกต

2.             อยากรู้อยากเห็น

3.             มีความเป็นเหตุเป็นผล

4.             มีความคิดริเริ่ม

5.             มีความมานะพยายามและอดทน

กิจกรรมการเรียนการสอน

1.             แจ้งสาระการเรียนรู้  ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง  จุดประสงค์การเรียนรู้    แนวปฏิบัติในการเรียนเกณฑ์การผ่านและวิธีการซ่อมเสริมเมื่อนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์

      2.   ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาถึงวิทยาศาสตร์คืออะไร และประเภทของวิทยาศาสตร์

       - วิทยาศาสตร์ คือ ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติที่สะสมรวบรวมไว้อย่างมีระบบโดยผ่านการค้นคว้าหาความรู้อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอนทดสอบและเป็นวิชาที่ค้นหาความจริงเกี่ยวกับวัตถุ เหตุการณ์และปรากฏการณ์ธรรมชาติ  โดยอาศัยวิธีการ  ทักษะกระบวนการและเจตคติทางวิทยาศาสตร์  เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป

        -วิทยาศาสตร์ แบ่งเป็น 2 ประเภท

                 1. วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ เป็นความรู้ทางวิทยาสาสตร์ขั้นพื้นฐานที่ได้จากการค้นพบในธรรมชาติ  เช่น เคมี   ชีวะ ฟิสิกส์

                 2. วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เป็นการนำความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ เพื่อให้เกิด

                  ประโยชน์และอำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิตของมนุษย์ เช่น แพทย์  วิศวะ เภสัช  

      3.  นักเรียนศึกษาใบความรู้ และร่วมกันสนทนาถึงนักวิทยาศาสตร์ที่นักเรียนรู้จัก พร้อมกับดูรูปภาพ   

           นักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก

           ตัวอย่างนักวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ที่มีชื่อเสียง

-                   อาร์คีเมเดส ผู้ค้นพบวิธีการหาปริมาตรของวัตถุโดยการแทนที่น้ำ

-                   เซอร์ ไอแซก นิวตัน ผู้ก่อตั้งกฎของความโน้มถ่วง การเคลื่อนที่ของวัตถุ การหักเหของแสง

-                   ชาลส์ ดาร์วิน  ผู้ก่อตั้งทฤษฎีวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

-                   อัลเบริ์ต  ไอน์สไตน์  ผู้ค้นพบทฤษฎีสัมพันธภาพของไอน์สไตน์

           ตัวอย่างนักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่มีชื่อเสียง

-                   ทอมัส  แอบวา เอดิสัน  ผู้ประดิษฐ์หลอดไฟ

-                   ไมเคิล  ฟาราเดย์  ผู้ประดิษฐ์เครื่องกำเนิดไฟฟ้า

-                   กาลิเลโอ  กาลิเลอิ ผู้ประดิษฐืกล้องโทรทรรศน์แบบหักเห

-                   หลุยส์  ปาสเตอร์  ผู้ค้นพบเซรุ่มสำหรับฉีดแก้พิษงูและพิษสุนัขบ้า

-                   วิลเบอร์ และออร์วิล ไรต์  ผู้สร้างเครื่องร่อนพร้อมปรับปรุงพัฒนาเป็นเครื่องบิน

     4.  นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงลักษณะสำคัญของการเป็นนักวิทยาศาสตร์

            ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์

1.             ช่างสังเกต

2.             อยากรู้อยากเห็น

3.             มีความเป็นเหตุเป็นผล

4.             มีความคิดริเริ่ม

5.             มีความมานะพยายามและอดทน

      5.  นักเรียนร่วมกันสรุปถึง ความหมายของวิทยาศาสตร์   วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์  วิทยาศาสตร์ประยุกต์   และลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์



  สื่อ/แหล่งเรียนรู้


1.      ใบความรู้ เรื่องวิทยาศาสตร์

2.      ภาพนักวิทยาศาสตร์

3.      หนังสืออ่านเพิ่มเติม

4.      Internet

5.      Power point

       

          การวัดผลประเมินผล


 


วิธีการวัด

เครื่องมือที่ใช้วัด

เกณฑ์การผ่าน
1.             สังเกตพฤติกรรม
2.             ตรวจผลการปฏิบัติงาน

3.             ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
     ทางการเรียน
4. ตรวจผลงานกลุ่ม
แบบสังเกตพฤติกรรม
แบบบันทึกการตรวจ
ผลการปฏิบัติงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน
แบบบันทึกการตรวจผลงานกลุ่ม


ผ่านเกณฑ์ร้อยละ  60



        กิจกรรมเสนอแนะ

                  ครูอาจมอบหมายให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ต  แล้วนำเสนอโดยจัดทำ   เป็น แผนผังความคิดรวบยอดส่งครู ผู้สอนตรวจสอบให้คะแนน



บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

               1 ผลการจัดการเรียนรู้

                               นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี........คน  คิดเป็นร้อยละ...........

                        นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง.......คน  คิดเป็นร้อยละ.................

                                นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุง........คน  คิดเป็นร้อยละ.............

                       2  ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน 

...........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................                        

                         3 ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................    

                      4 การปรับปรุงและพัฒนา

.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................

                                                                               

ชื่อ ............................................ผู้สอน

                                                                                                                       (นางสาวศิริรัตน์ จำปาเพ็ง)

                                                                                                                    ครูอัตราจ้าง





ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

                …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………

               

ลงชื่อ ............................................

                                                                                                                              (นางทิพวดี  อัครฮาด)

                                                                                            หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์









ความคิดเห็นของรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ

                      …………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………

                                                                                                                                

ลงชื่อ ............................................

                                                                                                                              (นายสุชาติ  อาจศัตรู)

                                                                                                          รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ











































ใบความรู้

หน่วยที่ 1 เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร

เรื่อง  วิทยาศาสตร์

---------------------------------------------------------------------------------------

                    วิทยาศาสตร์ มาจากคำภาษาอังกฤษ "Science" อันมีรากศัพท์มาจากคำว่า "Scientia" ซึ่งเป็นภาษาลาติน หมายถึง ความรู้ทั่วๆ ไป

                    วิทยาศาสตร์ คือ ความรู้ที่สะสมรวบรวมไว้อย่างมีระบบโดยผ่านการทดสอบและเป็นวิชาที่ค้นหาความจริงเกี่ยวกับวัตถุ เหตุการณ์และปรากฏการณ์ธรรมชาติ  โดยอาศัยวิธีการ  ทักษะกระบวนการและเจตคติทางวิทยาศาสตร์   เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป

วิทยาศาสตร์แบ่งเป็น  2  ประเภท

1.               วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ เป็นความรู้ทางวิทยาสาสตร์ขั้นพื้นฐานที่ได้จากการค้นพบในธรรมชาติ ได้แก่ ข้อเท็จจริง หลักการ ทฤษฏี ได้แก่วิชาต่างๆ เช่น ชีววิทยา ฟิสิกส์ เคมี เป็นต้น

2.               วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เป็นการนำความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ เพื่อให้เกิดประโยชน์และอำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิตของมนุษย์ เรียกนักวิทยาศาสตร์ด้านนี้ว่านักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ประกอบด้วย วิศวกร แพทย์ เภสัชกร เกษตรกร เป็นต้น

        ตัวอย่างนักวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ที่มีชื่อเสียง

-                   อาร์คีเมเดส ผู้ค้นพบวิธีการหาปริมาตรของวัตถุโดยการแทนที่น้ำ

-                   เซอร์ ไอแซก นิวตัน ผู้ก่อตั้งกฎของความโน้มถ่วง การเคลื่อนที่ของวัตถุ การหักเหของแสง

-                   ชาลส์ ดาร์วิน  ผู้ก่อตั้งทฤษฎีวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

-                   อัลเบริ์ต  ไอน์สไตน์  ผู้ค้นพบทฤษฎีสัมพันธภาพของไอน์สไตน์

           ตัวอย่างนักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่มีชื่อเสียง

-                   ทอมัส  แอบวา เอดิสัน  ผู้ประดิษฐ์หลอดไฟ

-                   ไมเคิล  ฟาราเดย์  ผู้ประดิษฐ์เครื่องกำเนิดไฟฟ้า

-                   กาลิเลโอ  กาลิเลอิ ผู้ประดิษฐืกล้องโทรทรรศน์แบบหักเห

-                   หลุยส์  ปาสเตอร์  ผู้ค้นพบเซรุ่มสำหรับฉีดแก้พิษงูและพิษสุนัขบ้า

-                   วิลเบอร์ และออร์วิล ไรต์  ผู้สร้างเครื่องร่อนพร้อมปรับปรุงพัฒนาเป็นเครื่องบิน

            ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์

1.             ช่างสังเกต

2.             อยากรู้อยากเห็น

3.             มีความเป็นเหตุเป็นผล

4.               มีความคิดริเริ่ม

นักวิทยาศาสตร์

                                       

             หลุยส์  ปานสเตอร์ (Louis  Pasteur)                                                ไอแซก  นิวตัน  (IsaacErnest  Newton)   

                     นักวิทยาศาสตร์สาขาชีววิทยา                                                                                  นักวิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์



                                                                  

 ชาร์ลส์  ดาร์วิน  (Charles Robert  Darwin)                                                               อริสโตเติล  (Aristotle)

                    นักวิทยาศาสตร์สาขาชีววิทยา                                                                                      นักวิทยาศาสตร์สาขาชีววิทยา



                                                          

            เจมส์  วัตต์  (James  Wett)                                                                           ปีทาโกรัส  (Pythagoras)

            นักวิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์                                                                      นักวิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์

                                                           นักวิทยาศาสตร์

                                                           

                       กาลิเลโอ  กาลิเลอิ   (Galileo  Galilei)                                                                         กูกิลโม มาร์โนี

          นักดาราศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ นักปรัชญาเมธี ชาวอิตาเลี่ยน                                เป็นผู้ประดิษฐ์โทรเลขไร้สายเป็นคนแรกของโลก



                                                      

                             เซอร์  ฮัมฟรีย์  เดวีย์                                                                             จอหน์   เบียร์ด

                     เป็นผู้พบยาสลบที่ใช้ในทางการแพทย์                                                  เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องรับโทรทัศน์เครื่องแรกของโลก   

                     

                                                  

                             โทมัส เอลวา เอดิสัน                                                                     ออร์วิลและวิลเบอร์ ไรท์

                           เป็นผู้ประดิษฐ์หลอดไฟฟ้า                                                                         ผู้ประดิษฐ์เครื่องบินลำแรกของโลก

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น