วันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2554

แผนการจัดการเรียนรู้ที่16

                                                 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ภาคเรียนที่1/2554
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สารละลาย เวลา 49 ชั่วโมง
เรื่อง สารละลายกรด – เบส ในชีวิตประจำวัน เวลา ชั่วโมง
บันทึกแผนการจัดการเรียนรู้โดย นางสาวศิริรัตน์ จำปาเพ็ง ครูอัตราจ้าง
ใช้แผนการจัดการเรียนรู้เมื่อ วันที่ ...23-31....เดือน ....กันยายน.....พ.ศ. ....2554............... โรงเรียนศรีบุญเรืองวิทยาคาร อ.ศรีบุญเรือง จ.หนองบัวลำภู สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดหนองบัวลำภูเขต1


สาระสำคัญ

กรด – เบส ในชีวิตประจำวัน

1. กรดในชีวิตประจำวัน

2. เบสในชีวิตประจำวัน

ข้อควรระวังในการใช้สารละลายกรด – เบส


ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง


สำรวจ ตรวจสอบ อภิปรายและอธิบายสารละลายกรด – เบส ในชีวิตประจำวัน และข้อควรระวังในการใช้สารละลายกรด – เบส ได้


จุดประสงค์การเรียนรู้ปลายทาง


สรุปเกี่ยวกับสารละลายกรด – เบส ในชีวิตประจำวัน และข้อควรระวังในการใช้สารละลาย กรด – เบส ได้


จุดประสงค์การเรียนรู้นำทาง


1. อธิบายและบอกสมบัติของสารละลายกรด เบสได

2. บอกสารละลายกรด – เบส ในชีวิตประจำวันได้

3. บอกข้อควรระวังในการใช้สารละลายกรด – เบส ได้




เนื้อหาสาระ


กรด – เบส ในชีวิตประจำวัน

ในชีวิตประจำวันของเราจะพบกับสารต่างๆ ซึ่งบางชนิดมีสมบัติเป็นกรด บางชนิดมีสมบัติเป็นเบส โดยสารละลายกรด – เบสมีทั้งประโยชน์และโทษต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นเราควรเลือกใช้สารต่างๆ อย่างระมัดระวังและเหมาะสม

1. กรดในชีวิตประจำวัน

สารละลายที่มีคุณสมบัติเป็นกรดที่เราใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น

-น้ำอัดลม ประกอบด้วยกรดคาร์บอนิก

-น้ำส้มและน้ำผลไม้ที่มีรสเปรี้ยวประกอบด้วยกรดซิตริกอยู่ในส้ม มะนาว ส้มโอ

-ใช้ในการแต่งรสอาหาร เช่น กรดแอซีติก ซึ่งมีในน้ำส้มสายชู เป็นต้น

-ใช้ในสารทำความสะอาดพื้นบ้าน เช่น กรดไฮโดรคลอริก เป็นต้น

2. เบสในชีวิตประจำวัน

สารละลายที่เราใช้ในชีวิตประจำวันมีมากหมายหลายชนิด เช่น

-โซเดียมไบคาร์บอเนต ในปากของเรามีแบคทีเรียอาศัยอยู่แบคทีเรียเหล่านี้ใช้น้ำตาลเป็นอาหารโดยสลายน้ำตาลไปเป็นกรดที่เรียกว่า plaque acid ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคฟันผุ

-แมกนีเซียมไฮดรอก ถ้าในกระเพาะอาหารมีกรดมากเกินไป ทำให้อาหารไม่ย่อยและส่งผลให้เกิดอาการจุกเสียดหรือแน่นท้อง การรับประทานยาที่มีส่วนผสมของแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ หรือ milk of magnesium จะช่วยลดความเป็นกรดในกระเพาะอาหาร เพราะมีฤทธิ์เป็นเบสอ่อนๆ

-ผงฟุหรือโซเดียมไบคาร์บอเนต ใช้ทำขนมต่างๆ

-สบู่ ใช้ทำความสะอาดร่างกาย มีหลายชนิดทั้งที่เป็นก้อนแข็ง เป็นของเหลว และเป็นครีม

-ยาสระผม ใช้ทำความสะอาดเส้นผม

-ผงซักฟอก ใช้ทำความสะอาดเสื้อผ้า

ข้อระวังในการใช้สารละลายกรด – เบส

กรด เป็นสารที่มีพิษที่มีต่อมนุษย์และสัตว์ เพราะมีฤทธิ์ ในการกักกร่อน และถ้าสูดดมเอาไอของเข้าไปจะเป็นพิษต่อระบบหายใจ ดังนั้นในการใช้สารที่มีฤทธิ์เป็นกรดในชีวิตประจำวันจะต้องใช้อย่างระมัดระวัง

การใช้สารปรุงแต่งอาหารให้มีรสเปรี้ยว เราต้องแน่ใจว่าสารนั้นไม่มีอันตราย เพราะผู้ผลิตบางรายได้นำกรดกำมะถันซึ่งเป็นกรดที่มีฤทธิ์กัดกร่อนสูงมากมาทำให้เจือจางด้วยน้ำ แล้วปลอมปนนำมาขายแทนน้ำส้มสายชู เมื่อผู้ใดบริโภคเข้าไปจะทำให้สารเคลือบฟันถูกกัดกร่อน กระเพาะอาหาร และลำไส้จะถูกกัดกร่อนเป็นแผล ดังนั้นการใช้น้ำมะนาวหรือน้ำมะขามเปียกมาปรุงแต่งรสเปรี้ยวของอาหารแทนน้ำส้มสายชูจะมีความปลอดภัยมากกว่า

เบส ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง และใช้ให้ถูกวิธี เช่น ผงซักฟอกใช้ซักล้างเสื้อผ้า ไม่ควรนำผงซักฟอกมาใช้ล้างถ้วยจาน ชาม ถ้วยแก้ว กระทะ หม้อบรรจุอาหาร เพราะอาจจะมีสารตกค้างจากผงวักฟอก ซึ่งเป็นอันตรายเมื่อบริโภคเข้าไปและไม่ควรนำมาใช้สระผม เพราะเบสในผงซักฟอกกัดกร่อนหนังศีรษะ และเส้นผมได้


กิจกรรมการเรียนการสอน

1. นักเรียนอ่านข่าวเกี่ยวกับผลการใช้สารเคมีชีวิตประจำวัน ( มอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมข่าวมาก่อนล่วงหน้า 1 สัปดาห์ ) นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาการใช้สารที่มีคุณสมบัติ กรด– เบสในชีวิตประจำวัน นำเสนอปัญหาที่ได้จากการวิเคราะห์

2. นักเรียนร่วมกันระดมความคิดในการแก้ปัญหา เรื่อง การใช้สารที่มีสมบัติเป็นกรด – เบส ในชีวิตประจำวัน ครูให้รายละเอียดเพิ่มเติมว่าการเลือกและใช้สารละลายกรด – เบสนั้นต้องคำนึงถึงสมบัติของสารที่จะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการใช้ และต้องคำนึงถึงผลของการใช้ที่อาจมีต่อผู้อื่นและสิ่งแวดล้อมซึ่งมีแนวปฏิบัติดังนี้

2.1 ศึกษาสมบัติของสาร

2.2 ศึกษาวิธีการใช้สาร

2.3 ป้องกันอันตรายจากการใช้สารให้ถูกวิธี

3. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาถึงสารละลายกรด – เบส ในชีวิตประจำวันและร่วมกันและบอกสารละลายกรด – เบส ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

4. นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่อง สารละลายกรด – เบส ในชีวิตประจำวันและพร้อมช่วยกันบอกข้อระวังในการใช้สารละลายกรด – เบส ในชีวิตประจำวัน

5. นักเรียนร่วมสรุปถึงสารละลายกรด – เบส ในชีวิตประจำวัน และข้อระวังในการใช้สารละลายกรด – เบส ในชีวิตประจำวัน


สื่อ/แหล่งเรียนรู้


1. ใบความรู้เรื่อง สารละลายกรด – เบส ในชีวิตประจำวัน

2. ใบความรู้เรื่อง ข้อระวังในการใช้สารละลายกรด – เบส ในชีวิตประจำวัน

3. Power point

4. หนังสืออ่านเพิ่มเติม


การวัดผลประเมินผล



วิธีการวัด

เครื่องมือที่ใช้วัด

เกณฑ์การผ่าน
1. สังเกตพฤติกรรม
2. ตรวจผลการปฏิบัติงาน
3. ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน
4. ตรวจผลงานกลุ่ม
แบบสังเกตพฤติกรรม
แบบบันทึกการตรวจ
ผลการปฏิบัติงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน
แบบบันทึกการตรวจผลงานกลุ่ม
ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60


กิจกรรมเสนอแนะ

ครูอาจมอบหมายให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ต แล้วนำเสนอโดยจัดทำ เป็น แผนผังความคิดรวบยอดส่งครู ผู้สอนตรวจสอบให้คะแนน


บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

1 ผลการจัดการเรียนรู้

นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี........คน คิดเป็นร้อยละ...........

นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง.......คน คิดเป็นร้อยละ.................

นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุง........คน คิดเป็นร้อยละ.............

2 ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน

................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .........................


3 ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ........................




4 การปรับปรุงและพัฒนา

..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .....................................


ลงชื่อ ............................................ผู้สอน

(นางสาวศิริรัตน์ จำปาเพ็ง)

ครูอัตราจ้าง


ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………….……………

ลงชื่อ ...................................................

(นางทิพวดี อัครฮาด)

หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ความคิดเห็นของรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ

…………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………


ลงชื่อ ......................................................

(นายสุชาติ อาจศัตรู)

รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ






ใบความรู้

กรด – เบส ในชีวิตประจำวัน

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ในชีวิตประจำวันของเราจะพบกับสารต่างๆ ซึ่งบางชนิดมีสมบัติเป็นกรด บางชนิดมีสมบัติเป็นเบส โดยสารละลายกรด – เบสมีทั้งประโยชน์และโทษต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นเราควรเลือกใช้สารต่างๆ อย่างระมัดระวังและเหมาะสม

1. กรดในชีวิตประจำวัน

สารละลายที่มีคุณสมบัติเป็นกรดที่เราใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น

-น้ำอัดลม ประกอบด้วยกรดคาร์บอนิก

-น้ำส้มและน้ำผลไม้ที่มีรสเปรี้ยวประกอบด้วยกรดซิตริกอยู่ในส้ม มะนาว ส้มโอ

-ใช้ในการแต่งรสอาหาร เช่น กรดแอซีติก ซึ่งมีในน้ำส้มสายชู เป็นต้น

-ใช้ในสารทำความสะอาดพื้นบ้าน เช่น กรดไฮโดรคลอริก เป็นต้น

2. เบสในชีวิตประจำวัน

สารละลายที่เราใช้ในชีวิตประจำวันมีมากหมายหลายชนิด เช่น

-โซเดียมไบคาร์บอเนต ในปากของเรามีแบคทีเรียอาศัยอยู่แบคทีเรียเหล่านี้ใช้น้ำตาลเป็นอาหารโดยสลายน้ำตาลไปเป็นกรดที่เรียกว่า plaque acid ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคฟันผุ

-แมกนีเซียมไฮดรอก ถ้าในกระเพาะอาหารมีกรดมากเกินไป ทำให้อาหารไม่ย่อยและส่งผลให้เกิดอาการจุกเสียดหรือแน่นท้อง การรับประทานยาที่มีส่วนผสมของแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ หรือ milk of magnesium จะช่วยลดความเป็นกรดในกระเพาะอาหาร เพราะมีฤทธิ์เป็นเบสอ่อนๆ

-ผงฟุหรือโซเดียมไบคาร์บอเนต ใช้ทำขนมต่างๆ

-สบู่ ใช้ทำความสะอาดร่างกาย มีหลายชนิดทั้งที่เป็นก้อนแข็ง เป็นของเหลว และเป็นครีม

-ยาสระผม ใช้ทำความสะอาดเส้นผม

-ผงซักฟอก ใช้ทำความสะอาดเสื้อผ้า



ใบความรู้

ข้อระวังในการใช้สารละลายกรด – เบส

----------------------------------------------------------------------------------------------

ข้อระวังในการใช้สารละลายกรด – เบส

กรด เป็นสารที่มีพิษที่มีต่อมนุษย์และสัตว์ เพราะมีฤทธิ์ ในการกักกร่อน และถ้าสูดดมเอาไอของเข้าไปจะเป็นพิษต่อระบบหายใจ ดังนั้นในการใช้สารที่มีฤทธิ์เป็นกรดในชีวิตประจำวันจะต้องใช้อย่างระมัดระวัง

การใช้สารปรุงแต่งอาหารให้มีรสเปรี้ยว เราต้องแน่ใจว่าสารนั้นไม่มีอันตราย เพราะผู้ผลิตบางรายได้นำกรดกำมะถันซึ่งเป็นกรดที่มีฤทธิ์กัดกร่อนสูงมากมาทำให้เจือจางด้วยน้ำ แล้วปลอมปนนำมาขายแทนน้ำส้มสายชู เมื่อผู้ใดบริโภคเข้าไปจะทำให้สารเคลือบฟันถูกกัดกร่อน กระเพาะอาหาร และลำไส้จะถูกกัดกร่อนเป็นแผล ดังนั้นการใช้น้ำมะนาวหรือน้ำมะขามเปียกมาปรุงแต่งรสเปรี้ยวของอาหารแทนน้ำส้มสายชูจะมีความปลอดภัยมากกว่า

เบส ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง และใช้ให้ถูกวิธี เช่น ผงซักฟอกใช้ซักล้างเสื้อผ้า ไม่ควรนำผงซักฟอกมาใช้ล้างถ้วยจาน ชาม ถ้วยแก้ว กระทะ หม้อบรรจุอาหาร เพราะอาจจะมีสารตกค้างจากผงวักฟอก ซึ่งเป็นอันตรายเมื่อบริโภคเข้าไปและไม่ควรนำมาใช้สระผม เพราะเบสในผงซักฟอกกัดกร่อนหนังศีรษะ และเส้นผมได้






















ภาคผนวก


















แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล


ที่
พฤติกรรม
ชื่อ - สกุล
ความสนใจ
การแสดงความคิดเห็น
การตอบคำถาม
การยอมรับฟังผู้อื่น
ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
รวมคะแนน
3
2
1
3
2
1
3
2
1
3
2
1
3
2
1


ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน

........./...................../...........

เกณฑ์การให้คะแนน

3 คะแนน = ดี

2 คะแนน = ปานกลาง

1 คะแนน = ปรับปรุง


แบบประเมินผลงานกลุ่ม


ชื่อครูผู้ประเมิน………………………………………………………………………………………

ประเมินกลุ่ม…………………………เรื่อง………………………………………………..……..…

รูปแบบผลงาน…………………………………….วันที่……เดือน……………………….…….



คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินใส่เครื่องหมาย 3 ลงในช่องว่างตามความเป็นจริง

4 หมายถึง ดีมาก 3 หมายถึง ดี 2 หมายถึง ปรับปรุง 1 หมายถึง ควรปรับปรุง


รายการ
4
3
2
1

ข้อเสนอแนะ

เนื้อหา

1. ความถูกต้องของเนื้อหา
2. การลำดับความคิด
3. การสรุปความคิดเห็น

รูปแบบการนำเสนอ

1. น่าสนใจ
2. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

การทำงานกลุ่ม

1. การเตรียมตัว
2. การทำงานเป็นระบบ
3. การมีส่วนร่วมของสมาชิก
4. ความภูมิใจในผลงานของสมาชิก

เกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ 80 ขึ้นไป ระดับ ดีมาก
ร้อยละ 70 – 79 ระดับ ดี
ร้อยละ 60 – 69 ระดับ พอใช้
ต่ำกว่าร้อยละ 60 ระดับ ปรับปรุง

สรุปการประเมินผลงานกลุ่ม

……………………………………………………………
รวมได้คะแนน……………………………………………
คิดเป็นร้อยละ…………………………………………….
อยู่ในเกณฑ์……………………………………………….



แบบสังเกตการใช้อุปกรณ์และสารเคมี

ขณะทำการทดลองในห้องทดลอง


กลุ่มที่...............ชั้น ม 1/.................การทดลองที่.................................................

เรื่อง...............................................................วันที่................................................


เลขที่
ชื่อ - สกุล
เลือกใช้ได้เหมาะสม
( 2 )
ใช้ได้ถูกต้องและแม่นยำ
( 2 )
ล้างและทำความสะอาด
(2)
การจัดเก็บเข้าที่มีระเบียบ
(2)
ทำงานเสร็จทันเวลาที่กำหนด
(2)
รวม
(10)
1
2
3
4
5
6



ลงชื่อ…………………………………

(………………………………….)

ผู้ประเมิน





แบบประเมินพัฒนาการในการเรียนรู้รายบุคคล



ชื่อ สกุล....................................................................ชั้น.....................

คำชี้แจง

1. ให้บันทึกคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนของแต่ละหน่วยการเรียนรู้

2. นำคะแนนหลังการเรียนลบคะแนนก่อนเรียน เป็นคะแนนพัฒนาการ

3. ประเมินคะแนนพัฒนาการในการเรียนรู้โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์คะแนนพัฒนาการแล้วทำเครื่องหมาย 3 ลงในช่องความหมายของการพัฒนาการเรียนรู้ให้ตรงกับความเป็นจริง


แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ที่
คะแนนแบบทดสอบ
คะแนนพัฒนาการ (หลัง-ก่อน)
พัฒนาการในการเรียนรู้
ก่อนเรียน
หลังเรียน
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
1
2
3
4
5
6



ลงชื่อ..........................................

(........................................)

ผู้ประเมิน


เกณฑ์คะแนนพัฒนาการ

มากกว่า 10 = ดีมาก

8 – 10 = ดี

5 – 7 = ปานกลาง

น้อยกว่า 5 = ปรับปรุง


แบบสังเกตการปฏิบัติงานกลุ่ม


กลุ่มที่...............ชั้น ม.1/......................

เรื่อง................................................................วันที่...............................................


เลขที่
ชื่อ - สกุล
ความรับผิดชอบในกลุ่ม
( 2 )
ร่วมวางแผนในกลุ่ม
( 2 )
ร่วมปฏิบัติในกลุ่ม
(2)
ยอมรับความเห็นของกลุ่ม
(2)
การแบ่งอุปกรณ์ให้เพื่อน
(2)
รวม
(10)
1
2
3
4
5
6
7
8
9


ลงชื่อ ……………………………….

( ……………………….…… )

ผู้ประเมิน





แบบประเมินตนเองของนักเรียน

ในการทำงานเป็นกลุ่ม


ชื่อ……………………………….…………………….ชั้น………………….เลขที่…………

วิชา…………………….………………….วันที่ประเมิน………………………………………


รายการ

ใช่

ไม่ใช่
หมายเหตุ
1.ในกลุ่มของนักเรียนมีการวางแผนร่วมกันก่อนลง
มือปฏิบัติงาน
2.ในกลุ่มของนักเรียนแบ่งงานกันทำอย่างเท่าเทียมกัน
3.ทุกคนในกลุ่มร่วมมือกันทำงานเป็นอย่างดี
4. นักเรียนร่วมมือกับเพื่อนในกลุ่มทำงานอย่างเต็มที่
5.มีการประชุมปรึกษาหารือกันขณะลงมือปฏิบัติงาน
6. สมาชิกทุกคนยอมรับความคิดเห็นของกันและกัน
7.นักเรียนสนุกกับงานที่ทำอย่างมาก
8. กิจกรรมที่ทำเป็นกิจกรรมที่ท้าทายมาก
9. ทุกคนกระตือรือร้นในการทำกิจกรรม
10. กลุ่มของนักเรียนทำกิจกรรมเสร็จทันเวลา
11. วัสดุอุปกรณ์ในการทำกิจกรรม เหมาะสม
12. กิจกรรมค่อนข้างยุ่งยากสับสน
13. ในกิจกรรมต่อไปนักเรียนต้องการทำงานร่วมกับ
สมาชิกในกลุ่มอีก


ข้อคิดเห็นอื่น ๆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………


แบบสังเกตการอภิปรายหน้าชั้นเรียน


กลุ่มที่...............ชั้น ม.1/......................

เรื่อง......................................................................วันที่.........................................


เลขที่
ชื่อ - สกุล
การแสดงความเห็น
( 2 )
ลำดับขั้นตอนในการอภิปราย
( 2 )
อภิปรายได้ตรงประเด็น
(2)
ความ
ถูกต้องของ
เนื้อหา
(2)
ความ
ถูกต้องในการใช้ภาษา
(2)
รวม
(10)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.













ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น